วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม



        ในการดารงชีวิตของมนุษย์นอกจากจะต้องมีปัจ จัย 4 แล้วยังต้องมีสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อทาให้ชีวิตสบายขึ้น สิ่งเหล่านี้บางอย่างมาจากธรรมชาติโดยตรงบางอย่างมนุษย์สร้างขึ้น โดยอาศัยความรู้ในเรื่องสมบัติของธาตุและสารประกอบและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีประกอบในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งมีที่มาจากซากดึกดาบรรพ์ทั้งหลายในรูปของเชื้อเพลิงก็ดี ปิโตรเลียมก็ดี สามารถนามาแปรสภาพเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมได้หลากหลาย แร่จัดเป็นวัตถุดิบตัวหนึ่งที่ใช้ในการผลิต 


ปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของถ่านหิน มีดั้งนี้
1. ชนิดของพืช
2. การเน่าเปื่อยที่เกิดขึ้นก่อนที่จะถูกฝังกลบ
3. ปริมาณสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อน ในขั้นตอนของการเกิดถ่านหิน
4. อุณหภูมิและความดัน ขณะที่เกิดการเปลี่ยนแปลง

     ถ่านหินสามารถจาแนกตามอายุการเกิดหรือปริมาณคาร์บอนที่เป็นองค์ประกอบจากน้อยไปมากได้ดังนี้ พีต ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส บิทูมินัส และแอนทราไซต์
พลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้ ถ่านหินจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณ ของคาร์บอนที่เป็นองค์ประกอบในถ่านหินถ้ามีคาร์บอนมากจะให้พลังงานความร้อนสูง
การสารวจแหล่งถ่านหินทาได้ดังนี้ การสารวจธรณีวิทยาพื้นผิว ธรณีฟิสิกส์ การเจาะสารวจ และการสารวจขั้นรายละเอียด
ถ่านหินที่พบในประเทศไทยจะมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ต่า คือให้พลังงานความร้อนไม่สูงนัก ได้แก่ ลิกไนต์ และซับบิทูมินัส การใช้ประโยชน์จะใช้เป็นเชื้อเพลิงเป็นส่วนใหญ่และบางส่วนนามาทาถ่านกัมมันต์ เพื่อใช้เป็นสารดูดซับกลิ่นในเครื่องใช้ต่างๆ

เนื่องจากการใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงโดยตรงจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นออกไซด์ของธาตุที่เป็นองค์ประกอบในถ่านหิน เช่น CO2 , CO , NO2 และ SO2 และ เถ้าถ่าน ซึ่งจะเป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น จึงได้มี การหาวิธีการใช้ถ่านหิน แบบสะอาด โดยเปลี่ยนถ่านหิน
ให้อยู่ในรูปของเชื้อเพลิง แก๊ส และเชื้อเพลิงเหลว ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณค่าและความสะอาดในการขนส่ง



     เมทานอลที่ได้มีประโยชน์ คือ ใช้เป็นสารตั้งต้น ในการสังเคราะห์แอลคีน สารประกอบอะโรมาติก เอทานอล กรดแอซีติก ฟอร์มาลดีไฮด์

   แก๊ส CO กับ H2 สามารถรวมตัวกันได้ ในภาวะที่เหมาะสม และมีนิกเกิล เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้เป็นแก๊สมีเทน ดังสมการ
CO (g) + 3H2 (g) CH4 (g) + H2O (g)
    การเปลี่ยนถ่านหินให้อยู่ในรูปของเชื้อเพลิง จัดเป็นการลดปริมาณสารหรือธาตุที่เจือปนที่เป็นมลทินในถ่านหินนั้น และเพิ่มอัตราส่วนไฮโดรเจนต่อคาร์บอนของสารประกอบไฮโดร คาร์บอน ที่อยู่ในถ่านหิน เพื่อให้ได้สารประกอบที่อยู่ในสถานะของเหลว การทาถ่านหินให้อยู่ในรูปของ เชื้อเพลิงเหลว ทาได้โดยผ่านแก๊สไฮโดรเจนไปบนถ่านหินที่บดละเอียด และให้รวมตัวกับน้า ภายใต้อุณหภูมิและความดันสูงๆ เชื้อเพลิงเหลวที่ได้จะใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับยานพาหนะ ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า และใช้เป็นสารตั้งต้น หรือวัตถุดิบในการผลิตสารเคมี

       กระบวนการเปลี่ยนถ่านหินให้อยู่ในรูปของเชื้อเพลิงแก๊ส และเชื้อเพลิงเหลว จะได้กามะถัน เป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ผลิตเป็นกรดซัลฟิวริก เพื่อใช้ในการผลิตพลาสติก ปุ๋ยและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ส่วนแก๊สไฮโดรเจน ใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตแก๊ส
แอมโมเนีย ซึ่งจัดเป็นสารตั้งต้นที่สาคัญในการผลิตปุ๋ยยูเรีย และ แอมโมเนียมซัลเฟต
หินน้ามัน คือหินตะกอนเนื้อละเอียดที่มีการเรียงตัวเป็นชั้นบางๆ เกิดจากการสะสม และทับถมของซากพืช พวกสาหร่าย และสัตว์เล็กอื่นๆ ภายใต้แหล่งน้าในภาวะที่เหมาะสมเป็นล้านๆปี
สารประกอบอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของหินน้ามัน คือ เคอโรเจน หินน้ามันเมื่อสกัดด้วยความร้อนที่เหมาะสมเพียงพอ จะทาให้เคอโรเจนสลายตัวให้น้ามันหินซึ่งมีลักษณะคล้ายน้ามันดิบ ปริมาณน้ามันหินจะมากหรือน้อยขึ้นกับปริมาณเคอโรเจน ถ้ามีมากน้ามันหินก็จะมากด้วย เคอโรเจน เป็นสารอินทรีย์ที่มีสถานะเป็นของแข็ง ลักษณะเป็นไข ขนาดโมเลกุลใหญ่ มวลโมเลกุลมากกว่า 3,000 ประกอบด้วยธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน กามะถัน และออกซิเจน
หินที่เป็นแหล่งกาเนิดหินน้ามัน ได้แก่หินที่มีรูพรุน เหมือนกับหินที่เป็นแหล่งกาเนิดปิโตรเลียม โดยหินนํ้ามันมีส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนดังนี้

1. สารประกอบอนินทรีย์ คือ พวกแร่ธาตุต่างๆ แร่ที่สาคัญ มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแร่
ซิลิเกต และกลุ่มแร่คาร์บอเนต ถ้ามีสารประกอบอนินทรีย์มากหินน้ามันจะมีคุณภาพต่า
2. สารประกอบอินทรีย์ ประกอบด้วยสารประกอบ 2 ชนิด คือ บิทูเมน และเคอโรเจน การแยกบิทูเมน ทาได้โดย นาบิทูเมนไปละลายในตัวทาละลายอินทรีย์ จะแยกบิทูเมนออกจากหินน้ามันได้ ส่วนเคอโรเจนไม่ละลายในตัวทาละลาย ถ้ามีสารประกอบอินทรีย์มาก หินน้ามันจะมีคุณภาพดี

       แม้ประเทศไทยมีการสารวจพบแหล่งหินน้ามันในจังหวัดตาก แต่ไม่มีการทาเหมืองหินน้ามัน เพราะชั้นหินน้ามันที่พบบาง ทาให้มีปริมาณเคอโรเจนน้อย จึงไม่คุ้มการลงทุน
การใช้ประโยชน์จากหินน้ามัน จะนาหินน้ามันมาผ่านกระบวนการสกัดเป็นน้ามันหิน แล้วนาไปทาการแยกและผลิตน้ามันชนิดต่างๆ เช่น น้ามันก๊าด น้ามันตะเกียง พาราฟีน น้ามันเชื้อเพลิง น้ามันหล่อลื่น ไข แนฟทา และได้ แอมโมเนียมซัลเฟต เป็นผลพลอยได้ แต่ต้องลงทุนสูง
ปิโตรเลียม (Petra + Oleum แปลว่า น้ามันที่ได้จากหิน) หมายถึงสารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนกับสารอินทรีย์มากมายหลายชนิดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีทั้งสถานะของเหลว เรียกน้ามันดิบ และแก๊ส เรียกว่าแก๊สธรรมชาติ
องค์ประกอบในน้ามันดิบส่วนใหญ่จะเป็นพวกสารประกอบไฮโดรเจนคาร์บอนประเภทแอลเคนและไซโคลแอลเคน ส่วนผสมอื่นจะมีเพียงเล็กน้อย เช่น กามะถัน ,ไนโตรเจน และสารประกอบออกไซด์
องค์ประกอบในแก๊สธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นพวกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนอะตอมจานวนน้อยๆ(1ถึง 5 อะตอม) และมีแก๊สไฮโดรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ เพียงเล็กน้อย
แก๊สธรรมชาติเหลวเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีจานวนคาร์บอนอะตอม
มากกว่าจานวนคาร์บอนอะตอมในแก๊สธรรมชาติที่มีสถานะเป็นแก๊ส แต่เนื่องจากเดิมอยู่ในชั้นโลกส่วนที่ลึกมาก และมีอุณหภูมิสูงทาให้แก๊สเปลี่ยนเป็นของเหลวเมื่อมาถึงระดับผิวดินที่มีอุณหภูมิลดลง จึงได้แก๊สธรรมชาติเหลว
ปิโตรเลียมที่อยู่ในพื้นที่มีรูพรุนจะถูกหินตะกอนหรือหินดินดานเนื้อละเอียดปิดกั้นไว้ไม่ให้ไหลออกเรียกโครงสร้างนี้ว่า แหล่งกักเก็บปิโตรเลียมโดยจะเก็บได้ทั้งน้า น้ามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ เรียงจากล่างขึ้นบน
     การสารวจปิโตรเลียมจะใช้ข้อมูลที่ได้จากทางธรณีวิทยาควบคู่กับธรณีฟิสิกส์ แล้วจึงวิเคราะห์ทางแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม และคาดคะเนปริมาณ
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณน้ามันดิบเรียกว่า บาร์เรล 1 บาร์เรล มี 42 แกลลอน หรือ เท่ากับ 158.987 ลิตร
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณของแก๊สธรรมชาติ คือ ลูกบาศก์ฟุต (ที่อุณหภูมิ 60องศาฟาเรนไฮต์ ความดัน 30 นิ้วของปรอท )
แหล่งน้ามันสารองขนาดใหญ่ของโลกในปัจจุบันพบได้ในบริเวณอ่าวเปอร์เซียรองลงมาคือ บริเวณอเมริกากลาง อเมริกาเหนือ และรัสเซีย

       เนื่องจากน้ามันดิบมีส่วนผสมหลายชนิด จึงต้องนามาแยกสารประกอบก่อนนาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งการแยกสารประกอบที่อยู่ในน้ามันดิบ จะใช้วิธีการกลั่นลาดับส่วนผลิตภัณฑ์ที่ได้จะนามาใช้เป็นเชื้อเพลิง ตัวทาละลายและสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี แต่เนื่องจากสารบางตัวมีโครงสร้างไม่เหมาะสมจึงมีกระบวนการปรับปรุงโครงสร้างให้เหมาะสมก่อนนาไปใช้ ดังนี้

1. กระบวนการแตกสลาย เป็นการทาให้สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่แตกตัวออกเป็นโมเลกุลเล็กๆ โดยใช้ความร้อนสูงและใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม
2. กระบวนการรีฟอร์มมิง เป็นการเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนโซ่ตรงให้กลายเป็นโซ่กิ่งหรือเปลี่ยนจากไฮโดรคาร์บอนที่เป็นวงแหวนธรรมดาให้เป็นวงแหวนอะโรมาติก จะใช้ความร้อนสูงแล้วเร่งตัวปฏิกิริยาช่วยในการเปลี่ยนแปลง
3. กระบวนการแอลคิเลชัน เป็นการรวมสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภท แอลเคนและ แอลคีนที่มีมวลต่าๆเข้าด้วยกัน ให้กลายเป็นไฮโดรคาร์บอนโซ่ยาวขึ้น และมีกิ่งก้านสาขา ปฏิกิริยานี้จะใช้กรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
4. กระบวนการโอลิโกเมอร์ไรเซชัน เป็นการรวมสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภท แอลคีนโมเลกุลเล็กๆเข้าด้วยกันให้กลายเป็นไฮโดรคาร์บอนที่มีโซ่ยาวขึ้นและมีพันธะคู่อยู่ในผลิตภัณฑ์ปฏิกิริยานี้จะใช้ความร้อนหรือตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยให้เกิดปฏิกิริยาได้ เร็วขึ้น
เมื่อนาน้ามันดิบไปผ่านกระบวนการปรับปรุงโครงสร้างจะทาให้คุณภาพเหมาะสมแก่การใช้งานมากขึ้น ซึ่งการใช้งานส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของน้ามันเชื้อเพลิง เช่น น้ามันเบนซิน มีส่วนประกอบสาคัญเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนประมาณ 6-12 อะตอม สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ของน้ามันเบนซินที่มีคุณภาพดีส่วนใหญ่ จะมีโครงสร้างเป็นโซ่กิ่งหรือวงแหวนอะโรมาติก แต่โครงสร้างโซ่ตรงคุณภาพจะไม่ดี เพราะติดไฟง่ายเกิดระเบิดได้เร็วทาให้เครื่องยนต์เดินไม่เรียบ
การชิงการจุดระเบิด คือการที่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนในน้ามันเบนซินมีการติดไฟได้ง่ายทาให้เกิดระเบิดเร็วกว่าจังหวะที่ควรจะเป็นในกระบอกสูบส่งผล ให้เครื่องยนต์เกิดการกระตุก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีชื่อสามัญว่า ไอโซออกเทน มีโครงสร้างเป็นโซ่กิ่ง ที่มีความเหมาะสมกับการเผาผลาญในเครื่องยนต์ที่ใช้น้ามันเบนซิน เพราะช่วยป้องกันการชิงจุดระเบิดของเครื่องยนต์ได้ดี ทาให้เครื่องยนต์เดินเรียบ ส่วนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีชื่อว่า เฮปเทน มีโครงสร้างโซ่ตรงเป็นสารที่ไม่เหมาะแก่การเผาผลาญในเครื่องยนต์เพราะเกิดการจุดระเบิดง่าย
เลขออกเทน คือ ตัวเลขบอกคุณภาพของน้ามันเบนซินค่านี้จะบอกถึงความสามารถของน้ามันต่อการต้านทานการชิงจุดระเบิดของเครื่องยนต์เมื่อการเผาไหม้ของน้ามันเกิดขึ้น

       แต่ไม่แสดงถึงความแรงของเครื่องยนต์โดยทั่วไปกาหนดให้ n - เฮปเทน ( นอร์มอลเฮปเทน ) มีเลขออกเทนเท่ากับศูนย์ และ 2,2,4 ไตรเมทิลเพนเทน (หรือไอโซออกเทน) มีเลขออกเทนเท่ากับ 100
น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทนต่า การเผาไหม้จะไม่ดี มีการเพิ่มค่าออกเทน โดยการเติมสารเคมีบางชนิดเพื่อให้น้ามันเผาไหม้ได้ดีขึ้น ตัวอย่างสารเคมีที่เติมเพื่อค่าออกเทน เช่น เตตระเมทิลเลตหรือเตตระเอทิลเลต ซึ่งสารทั้ง 2 ชนิดนี้ จะทาให้เครื่องยนต์เผาไหม้ได้ดีขึ้นแต่จะทาให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เพราะจะมีสารตะกั่วออกมาปนเปื้อนในบรรยากาศ แต่ถ้าเติม เมทิลเทอร์เชียรีบิวทิวอีเทอร์(MTBE) เอทานอล หรือเมทานอล จะไม่เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เรียกน้ามันที่เติม MTBE ว่า น้ามันไร้สารตะกั่ว แต่ปัจจุบันพบว่าสาร MTBE เป็นสารละลายน้าได้ดี เมื่อมีการรั่วไหลของน้ามันสารนี้ก็จะปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้าโดยเฉพาะแหล่งน้าใต้ดินจะเกิดปัญหาสารปนเปื้อนได้ง่ายจึงมีการศึกษาและหาสารที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับ MTBE มาใช้แทน และพบว่า เอทิลเทอร์เชียรีบิวทิวอีเทอร์ (ETBE) มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า MTBE จึงใช้ ETBE แทน MTBE ในน้ามันไร้สารตะกั่ว
เลขซีเทน เป็นเลขบอกคุณภาพของน้ามันดีเซล โดยกาหนดให้ ซีเทน (C16H34)
มีเลขซีเทน เท่ากับ 100 แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C11H10) มีเลขซีเทนเท่ากับ 0 การแปล
ความหมายเลขซีเทนจะเหมือนกับเลขออกเทน
น้ามันดีเซล เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบส่วนใหญ่จะใช้กับรถบรรทุกขนาดเล็กหรือเรือประมง แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ

1.น้ามันดีเซลหมุนเร็ว หรือเรียกว่า โซล่า ใช้กับเครื่องยนต์ความเร็วรอบสูงกว่าพันรอบต่อนาที
2.น้ามันดีเซลหมุนช้า หรือเรียกว่า ขี้โล้ ใช้กับเครื่องยนต์ขับเคลื่อนเรือเดินทะเล และการผลิตกระแสไฟฟ้า
      น้ามันดีโซฮอล์ เป็นน้ามันเชื้อเพลิงที่เกิดจากการนาน้ามันดีเซลมาผสมกับเอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ 99.5% ถ้าใช้เอทานอลที่มีความบริสุทธิ์เพียง 95% จะเติมสารเคมีบางชนิดลงไปเพื่อประสานให้เอทานอลรวมกับน้ามันดีเซลได้โดยไม่แยกชั้น
ไบโอดีเซล เป็นเอสเทอร์ที่ผลิตมาจากน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Transesterification โดยนาน้ามันดังกล่าวไปทาปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ และใช้กรดหรือเบส เร่งปฏิกิริยาได้ เอสเทอร์ และ มีกลีเชอรอล เป็นผลพลอยได้
การเรียกชื่อ ไบโอดีเซล จะเรียกตามชนิดของแอลกอฮอล์ที่เป็นสารตั้งต้น เช่น ใช้เมทิลแอล กอฮอล์เตรียมจะได้ไบโอดีเซล ชื่อ เมทิลเอสเทอร์ ถ้าใช้เอทิลแอลกอฮอล์เตรียมจะได้เอทิลเอสเทอร์ เป็นต้น
เนื่องจากแก๊สธรรมชาติประกอบไฮโดรคาร์บอนและสารอื่นที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟล์ ไอปรอท และไอน้า ดังนั้นก่อนนาไปใช้ประโยชน์ต้องแยกสารที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกก่อนโดยใช้กระบวนการดังนี้

1.หน่วยกาจัดปรอท เพื่อป้องกันไม่ให้ท่อผุกร่อนเพราะรวมตัวกับปรอท
2.หน่วยกาจัดแก๊ส ( ได้แก่ ไฮโดรเจนซัลไฟล์และคาร์บอนไดออกไซต์ ) เพื่อป้องกันไม่ให้มีพิษและกัดกร่อนจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟล์ และป้องกันการอุดตันของท่อจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์การกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะใช้สารละลายโพเทสเซียมคาร์บอเนตผสมตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจะนาไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่างๆเช่น การทาน้าแข็งแห้ง ฝนเทียม น้ายาดับเพลิง เป็นต้น
3.หน่วยกาจัดความชื้น (ได้แก่ ไอน้า ) เพื่อป้องกันไม่ให้กลายเป็นน้าแข็งและอุดตันในท่อระบบแยกแก๊ส เมื่อทาการลดอุณหภูมิให้ต่ามากๆ วิธีการกาจัดความชื้นจะใช้สารที่มีรูพรุนสูงและดูดซับน้าออกจากแก๊สได้ดี เช่น ซิลิกาเจล
เมื่อแยกแก๊สที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกแล้วจะนาแก๊สธรรมชาติที่ มีแต่
สารประกอบไฮโรคาร์บอนเข้าสู่หอกลั่นและทาการกลั่นลาดับส่วนได้แก๊สต่างๆ ดังนี้ แก๊สมีเทน แก๊สอีเทน แก๊สโพรเพน แก๊สปิโตรเลียมเหลว (C3และC4) และแก๊สโซลีนธรรมชาติ หรือที่เรียกว่า แก๊สธรรมชาติเหลว ( C5 ขึ้นไป ) ซึ่งนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงและสารตั้งต้น ในอุตสาหกรรม
แก๊สธรรมชาติและแก๊สธรรมชาติเหลว (LPG) เป็นสารที่ไม่มีกลิ่นแต่ที่พบในเชื้อเพลิงที่ใช้ตามบ้านหรือเครื่องยนต์จะมีกลิ่นเหม็น เพราะจะเติมสารประกอบที่มีหมู่ –SHเกาะอยู่กับอะตอมของคาร์บอนซึ่งมีชื่อเฉพาะว่า สารเมอร์แคปแทน ทั้งเพื่อป้องกันการรั่วใหลของแก๊สและไม่สามารถติดตามป้องกันได้ ตัวอย่างสารประกอบ เมอร์แคปแทน ที่เพิ่มในแก๊สธรรมชาติ เช่น เมทินเมอร์แคปแทน (CH3SH) เอทิลเมอร์แคปเทน (C2H5 SH) และเทอร์เซียรีบีวทิลเมอร์แคปแทน ((CH3)3CSH)
แก๊สปิโตรเลียมเมื่อถูกอัดให้เป็นของเหลวจะกลายเป็นแก๊สปิโตรเลียมเหลวซึ่งมีเลขออกเทนสูงประมาณ 130 ทาให้มีคุณภาพในการเผาผลาญเครื่องยนต์ดีขึ้นจึงใช้เป็น

      เชื้อเพลิงทดแทนน้ามันเบนซินและน้ามันดีเซล โดยปิโตรเลียมเหลวนี้ไม่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศเพราะไม่สารตะกั่วเป็นส่วนผสมในเชื้อเพลิง
สารประกอบในอุตสาหกรรม
แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาที่บริเวณใต้ผิวโลก และที่ผิวโลก มีองค์ประกอบภายในเป็นช่วงมีโครงสร้างและสมบัติเฉพาะตัว
สินแร่ เป็น กลุ่มของแร่ต่างๆที่มีค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีปริมาณมากเพียงพอที่จะใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อนาไปถลุงให้ได้โลหะ
ถ้าใช้ประโยชน์ในเชิงพานิชเป็นเกณฑ์ จะแบ่งแร่ได้ 2 ชนิด ดังนี้

1. แร่ประกอบหิน คือ แร่ที่เป็นส่วนหนึ่งของหิน จะมีแร่กระจายแทรกอยู่ในเนื้อของ
หิน จึงแยกมาใช้ประโยชน์ต่างๆได้ยาก การใช้จึงต้องนาหินมาใช้โดยตรง เช่นนาหินแกรนิตหรือหินอ่อนมาปูพื้น หรือใช้ในการก่อสร้าง
2. แร่เศรษฐกิจ คือ แร่ที่มีค่ามีราคาทางเศรษฐกิจ และมีปริมาณมากเพียงพอที่จะ
นามาใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมได้ แบ่งได้2ชนิด คือแร่โลหะและแร่อโลหะ ตัวอย่างแร่
โลหะเช่น เหล็ก ดีบุก ฯลฯ ตัวอย่างแร่อโลหะ เช่น ถ่านหิน หินน้ามัน และแก๊สธรรมชาติ
แร่ที่นามาใช้ประโยชน์พบทั้งในรูปของสินแร่ และธาตุบริสุทธิ์ ในการใช้งานจึงต้องมีการถลุงโลหะ
วิธีการถลุงโลหะ จะใช้คาร์บอนหรือคาร์บอนมอนอกไซด์ เป็นตัวรีดิวซ์ หรือนามาทาการสกัดด้วยตัวทาละลายที่เหมาะสม แล้วจึงทาการแยกด้วยกระแสไฟฟ้า หรือ ใช้สารเคมีทาให้ตกตะกอน
การย่างแร่ เป็นการนาแร่มาเผาในอากาศ ทาให้สารประกอบอื่นที่ไม่ใช่สารประกอบออกไซด์กลายเป็นสารประกอบออกไซด์
การกาจัดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ที่ได้จากสินแร่ที่มีธาตุกามะถันเป็นองค์ประกอบหรือเกิดจากกามะถันที่เจือปนในถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง จะใช้แคลเซียม
ไฮดรอกไซด์ (Ca (OH)2 ) ทาปฏิกิริยากับแก๊สนี้ทาให้ได้แคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) เพื่อนาไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตยิปซัม

        ในการถลุงแร่โลหะ จะมีปฏิกิริยารีดอกซ์เกิดขึ้นเสมอและจะใช้การแยกสารละลายด้วยไฟฟ้าในการทาให้โลหะบริสุทธิ์ ส่วนการทาให้โลหะตกตะกอนจะใช้หลักการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะที่มีค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ที่แตกต่างกัน
แร่รัตนชาติหรืออัญมณี เป็นแร่อโลหะที่มีราคา สหรัฐอเมริกาได้ให้ความหมายแร่ชนิดนี้ว่า เป็นแร่หรือสารประกอบอินทรีย์ที่สามารถนามาใช้ทาเป็นเครื่องประดับ คุณสมบัติที่สาคัญของแร่กลุ่มนี้คือ ความสวยงาม คงทน หาได้ยากมีความนิยมและสามารถพกพาได้
การตรวจสอบสมบัติของอัญมณีว่าเป็นของแท้หรือของเทียมจะตรวจสอบที่สมบัติเฉพาะของอัญมณีดังนี้ ความแข็ง ความถ่วงจาเพาะ ค่าดัชนีหักเหแสง และ รูปลักษณะของผลึกที่เกิดตามธรรมชาติ
แร่รัตนชาติสามารถเพิ่มคุณภาพและราคาได้โดย การเจียระไน การเผา การอาบรังสี การย้อมเคลือบ และการฉายแสงเลเซอร์
   
        เซรามิกส์ คือ ผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากวัตถุดิบที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย และแร่ธาตุต่างๆ ผสมแล้วนาไปขึ้นรูปและเผาเพื่อให้แข็งแรงคงรูปอยู่ได้
การผลิตเซรามิกส์มีกระบวนการดังนี้ การเตรียมวัตถุดิบ การขึ้นรูป การตากแห้ง การเผาดิบ การเคลือบ การเผาเคลือบ และตกแต่งให้สวยงามด้วยลวดลายต่างๆ การตกแต่งนี้อาจทาก่อนการเคลือบหรือหลังการเคลือบก็ได้
ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ สามารถทาภาชนะเครื่องใช้ได้หลายประเภทดังนี้ ภาชนะรองรับหรือปรุงอาหาร , เครื่องสุขภัณฑ์ , กระเบื้อง , งานด้านไฟฟ้า เช่น กล่องฟิวส์ , วัสดุทนไฟและแก้ว แต่การใช้เซรามิกส์ต้องระวังสารตะกั่วที่อาจหลุดออกมาเพราะนาวัสดุดังกล่าวไปใส่อาหารที่เป็นกรด หรือเบสจะทาให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ สารตะกั่วจะเกิดในขั้นตอนที่มีการลดอุณหภูมิ การหลอมละลายและทาให้เซรามิกส์มีสีที่สดใส
       แก้วเป็นวัสดุที่มีประโยชน์หลายอย่าง จึงมีการนามาใช้อย่างหลากหลาย เพราะมีสมบัติที่ดีหลายประการ เช่น มีความโปร่งใส ไอน้าและแก๊สซึมผ่านยากบางชนิดสามารถทนต่อกรดและเบสได้ แข็งแรงและทนแรงดันได้ดี
       แก้วทาจากทรายแก้วหรือที่เรียกว่า ควอตซ์ หรือหินเขี้ยวหนุมาน องค์ประกอบสาคัญ คือ ซิลิกา( SiO2) และมีส่วนผสมของสารอื่นๆ อีกเช่น โซดาแอช หินปูน โดโลไมต์ และเศษแก้ว ซึ่งส่วนผสมเหล่านี้ จะช่วยลดอุณหภูมิในการหลอมเหลวซิลิกาให้ต่าลง และเพิ่มความแกร่งของเนื้อแก้ว
ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากการบดปูนเม็ด เกิดจากการเผา

       แคลเซียมคาร์บอเนต ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็กในสัดส่วนที่เหมาะสมจนส่วนผสมต่างๆรวมตัวกันสุกพอดี วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์ มี 4 กลุ่ม ดังนี้ วัตถุดิบเนื้อปูน วัตถุดิบเนื้อดิน วัตถุดิบปรับคุณภาพ และสารเติมแต่ง
กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ มี 2 แบบ คือแบบเผาเปียก และแบบเผาแห้ง การจะใช้กระบวนการแบบใดขึ้นกับความชื้นและชนิดของวัตถุดิบ ถ้าวัตถุดิบมีความชื้นสูงตามสภาพธรรมชาติจะใช้วิธีเผาเปียก ซึ่งต้องใช้พลังงานมาก ทาให้มีต้นทุนสูงจึงไม่นิยม แต่ถ้าวัตถุดิบมีความชื้นต่า จะใช้วิธีเผาแห้ง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ปูนซีเมนต์ จัดเป็นผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ชนิดหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันมีการวิจัยและพัฒนาให้มีคุณภาพดี และเหมาะแก่การใช้งานมากขึ้น ปูนซีเมนต์แบ่งตามประโยชน์การใช้งานได้ 2 ชนิดดังนี้

1 . ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ได้จากการบดปูนเม็ดกับยิปซัม
2 . ปูนซีเมนต์ผสม เป็นปูนที่มีการเติมทรายหรือหินปูนละเอียดลงไปบดร่วมกับปูนเม็ด จึงมีแรงอัดต่ากว่าปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เหมาะกับงานก่อสร้างที่ไม่ต้องการรับน้าหนักมาก หรืองานคอนกรีตที่ไม่ต้องมีการยืดหดมากนัก

โซเดียมคลอไรด์หรือที่เรียกว่า เกลือแกง มีแหล่งผลิตที่สาคัญ 2 แหล่งดังนี้
1 . ผลิตจากน้าทะเล เรียกเกลือสมุทร มีหลักการผลิตดังนี้ การตกตะกอน การระเหย และการตกผลึก เหมาะแก่การบริโภค เพราะมีธาตุที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโต เช่น ไอโอดีน
2 . ผลิตจากแหล่งเกลือในดิน เรียก เกลือสินเธาว์ มีหลักการผลิตดังนี้ การละลาย การกรอง และการตกผลึก เหมาะสาหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมเพราะมีความบริสุทธิ์สูง

การทานาเกลือ จากน้าทะเล เพื่อให้ได้เกลือสมุทรที่มีคุณภาพดี มีขั้นตอนดังนี้
1.ให้ระบายน้าทะเลจากนาเชื้อไปนาปลงตลอดเวลา เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้น้าทะเล
มีความเข้มข้นที่สูง จนทาให้เกลือชนิดต่างๆ ตกผลึก
2 . การลดปริมาณของ แมกนีเซียมไอออน ( Mg2+) ที่อยู่ในน้าทะเลทาได้โดยเติม ปูน
ขาวลงไป น้าทะเลจะมีสมบัติเป็นเบส Mg2+ จะตกตะกอนอยู่ในรูปของแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Mg(OH)2) ทาให้น้าเกลือที่ไขเข้าไปสู่นาปลงมีแต่ NaCl ละลายอยู่เป็นส่วนมากเกลือจึงค่อนข้างบริสุทธิ์
3 . ต้องคุมอุณหภูมิ และ ความเข้มข้นของน้าทะเล ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกลือตกผลึกเร็วเกินไป เพราะน้าทะเลที่มีอุณหภูมิสูงจะระเหยเร็ว ทาให้น้าเกลือมีความเข้มข้นสูงแต่เกลือจะยังไม่ตกผลึก นอกจากนี้ถ้ามีอุณหภูมิสูงจะยิ่งทาให้เกลือละลายได้มากขึ้นและเมื่ออุณหภูมิต่าลง จะตกผลึกเร็วขึ้น ทาให้มีน้าแทรกอยู่ระหว่างชั้นของผลึกเกลือที่ได้จะมีความชื้นสูง แก้ไขได้โดยขังน้าไว้ในนาปลงที่มีความลึกไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร
น้าขม หมายถึง น้าเกลือเข้มข้นที่ไม่สามารถทาให้เกิดการตกตะกอนได้มีรสขมเพราะมี
เกลือ MgCl2 อยู่มาก
เกลืออนามัยหรือเกลือไอโอเดต เป็นเกลือที่มีการเติมธาตุไอโอดีนในรูปของไอโอไดด์
หรือ ไอโอเดตลงไป ส่วนมากจะนาเกลือสินเธาว์มาเติมธาตุนี้
โซเดียมคลอไรด์หรือเกลือแกง นอกจากใช้บริโภคแล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเคมีได้ด้วย โดยใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ แก๊สคลอรีนและโซดาแอชหลักการในการผลิตจะใช้หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์ แบบเซลล์เยื่อ แลกเปลี่ยนไอออนเซลล์ไดอะแฟรม และเซลล์ปรอท
โซดาแอช คือโซเดียมคาร์บอเนต ( Na2CO3 ) ผลิตโดยใช้กระบวนการโซลเวย์หรือที่เรียกว่า กระบวนการโซดาแอมโมเนีย มีวัตถุดิบเป็นโซเดียมคลอไรด์ แคลเซียมคาร์บอเนต และแก๊สแอมโมเนีย

การผลิตโซดาแอช ในระบบอุตสาหกรรม มีวิธีที่นิยมผลิต 3 วิธีดังนี้
1 . วิธีโซลเวย์ หรือ วิธีแอมโมเนียโซดา มีข้อดี และข้อจากัดดังนี้
ข้อดี คือ ใช้เงินลงทุนน้อยกว่าวิธีอื่นๆ และสามารถนา NH3 กลับมาหมุนเวียนใช้ใน
กระบวนการผลิตได้อีก จึงไม่จาเป็นต้องมีโรงงานผลิต NH3อยู่ในระบบให้เกิดการสิ้นเปลือง
ข้อจากัด คือ กระบวนการผลิตต้องใช้น้าจืดในปริมาณมาก และน้าทิ้งอาจก่อให้เกิด
มลพิษทางน้าได้ การผลิตจะเกิด CaCl2 ซึ่งเป็นผลพลอยได้ ในปริมาณมาก ทาให้ใช้ไม่หมด
ก่อให้เกิดปัญหาในการกาจัดและผลผลิตที่ได้จะมีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับปริมาณวัตถุดิบที่ใช้
คือ NaCl จะสูญเสียไปกับน้าขณะผลิตเป็นจานวนมากซึ่งจะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม
2 . วิธีแอมโมเนียมคลอไรด์ ( วิธี AC ย่อมาจาก Ammonium Chloride Process ) วัตถุดิบที่ใช้ คือ เกลือหิน ( NaCl) ซึ่งใช้เพียงเล็กน้อยแต่จะได้โซดาแอช ในปริมาณมาก ในการผลิตจะต้องผลิตแอมโมเนียก่อนแล้วจึงผลิตโซดาแอชมีข้อดี และข้อจากัด ดังนี้
ข้อดี คือ ใช้วัตถุดิบน้อยแต่ได้ผลิตภัณฑ์มาก กระบวนการนี้ใช้น้าจืดน้อยมาก ทาให้มีน้าเสียน้อยจึงบาบัดน้าเสียได้ง่าย ผลพลอยได้ที่เป็นNH4Clสามารถนาไปใช้ทาปุ๋ยได้อีก
ข้อจากัด จาเป็นต้องมีโรงงานผลิตแก๊สแอมโมเนีย เพราะเป็นวัตถุดิบในการผลิตโซดาแอช จึงต้องใช้ทรัพยากรและพลังงานจานวนมาก เพราะต้องใช้ไอน้าในการผลิตแก๊สนี้ ส่วนผลพลอยได้ที่เป็น NH4Cl อาจมีมากเกินความต้องการของโรงงานผลิตปุ๋ยได้
3 . วิธี New Asahi (วิธี NA ย่อมาจาก New Asahi Process ) เป็นวิธีใหม่ที่ได้จากการพัฒนาวิธี Solvay ร่วมกับ วิธี AC โดยเริ่มขั้นตอนการผลิต เหมือนวิธี AC แล้วนาผลพลอยได้ คือ NH4Cl ที่มีมากเกินความต้องการไปทาปฏิกิริยากับ Ca(OH)2 ได้ NH3 เป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งนามาใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิตโซดาแอชได้ เหมือนวิธี Solvay วิธีนี้มีข้อดีและข้อจากัดดังนี้
ข้อดี คือ สามารถคุมปริมาณของ NH4 Cl ได้ตามต้องการและสามารถนากลับมาใช้ได้อีกในรูปของ NH3 จึงไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ข้อจากัด คือ ใช้ประโยชน์จาก NaCl ในการผลิตสูงมาก ต้องลงทุนสูงกว่าวิธีอื่นๆ ทาให้ผลผลิตมีราคาแพง

      เกลือหิน เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าแร่เฮไลต์ เป็นแร่ที่มีโซเดียมคลอไรด์ เป็นองค์ประกอบมีรูปผลึกเป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ใสไม่มีสีถ้าเป็นสารบริสุทธิ์แต่ถ้ามีมลทินจะมี สีขาว สีเทา สีน้าตาล และสีส้ม เพราะมีสารอื่นมาเจือปน เช่น แคลเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แคลเซียมคลอไรด์
เกลือโพแทส คือ เกลือหินที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบร่วมอยู่ด้วยนิยมใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมี
   
      เกลือจืด หมายถึง แร่ยิปซัม ( CaSO4 . 2H2O ) มีสีขาวหรือสีเทามักพบมีสีเหลือง แดง หรือ น้าตาล เจือปนอยู่ด้วย มีประโยชน์คือใช้ผลิตปูนซีเมนต์ ทาฝ้ากันความร้อน ปูนปลาสเตอร์ ฯลฯ เป็นต้น
สารฟอกขาว คือ สารประกอบไฮโปคลอไรด์ มีประโยชน์มากในอุตสาหกรรมการฟอกย้อมเส้นด้าย เยื่อกระดาษ และสามารถใช้เป็นสารฆ่าเชื้อโรคในน้าได้การฟอกจางสีของสารฟอกขาวเกิดจากแก๊สคลอรีนสลายตัวจากโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ( NaOCl ) แต่เนื่องจาก
NaOCl มีฤทธิ์กัดกร่อนจึงไม่ควรใช้มากเพราะจะกัดกร่อนสิ่งที่ฟอกจนทาให้เกิดความเสียหาย
โซเดียมไฮโปคลอไรด์เตรียมได้จากการนาแก๊สคลอรีนไปทาปฏิกิริยากับโซเดียมคาร์บอเนต หรือโซดาแอช จัดเป็นกระบวนการต่อเนื่องของการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมไฮโปคลอไรด์ เป็นสารฟอกขาวที่อยู่ในรูปของสารละลาย เพราะละลายน้าได้ดี สารฟอกขาว ที่อยู่ในรูปของแข็งก็มีเช่น แคลเซียมไฮโปคลอไรด์( Ca ( OCl)2 ) เตรียมได้โดยผ่านแก๊สคลอรีนลงในสารละลาย Ca(OH)2 จะได้ตะกอนสีขาวของ Ca( OCl)2และ CaCl2ซึ่งละลายน้าได้
ผงฟอกขาว หรือ ที่เรียกว่า ปูนคลอรีน สามารถ เตรียมได้โดยผ่านแก๊สคลอรีนลงในปูนขาวชื้น ได้ผลิตภัณฑ์ หลายชนิดผสมกันดังนี้

1 . Ca( OCl)2 . 3H2O มีปริมาณเล็กน้อย
2 . 3 Ca( OCl)2 . 2Ca( OH)2 . 2H2O มีปริมาณมาก
3 . Ca( OCl)2 . 2Ca( OH)2 มีปริมาณมาก
4 . CaCl2 . 6H2O มีปริมาณเล็กน้อย
5 . CaCl2 . Ca( OH)2 . H2O มีปริมาณมาก
6 . CaCl2 . Ca( OH)2 . 12 H2O มีปริมาณเล็กน้อย

สารเหล่านี้ เมื่อทาปฏิกิริยากับกรดเจือจางจะได้คลอรีน ซึ่งมีสมบัติในการฟอกสีได้ จึงจัดเป็นสารฟอกขาว
ปุ๋ยเป็นสารที่ใส่ลงไปในดินเพื่อให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช ธาตุอาหารหลักของพืช
ที่สาคัญได้แก่ ธาตุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ปุ๋ยมี 2 ประเภท ดังนี้

1 . ปุ๋ยอินทรีย์ ได้จากการเน่าเปื่อยผุพังของสิ่งมีชีวิต จัดเป็นปุ๋ยธรรมชาติ แต่จะมีธาตุอาหารน้อย ต้องใช้ครั้งละมากๆ จึงจะเพียงพอแก่ความต้องการของพืช
2 . ปุ๋ยเคมี หรือ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ได้จากการผลิตหรือสังเคราะห์จากแร่ธาตุต่างๆที่เป็นผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรม บางชนิด มีธาตุอาหารหลักของพืชครบถ้วน และสามารถปลดปล่อยให้พืชได้ง่ายและเร็ว มี 2 ประเภท
2.1 ปุ๋ยเดี่ยวหรือ แม่ปุ๋ย มีสารประกอบที่เป็นองค์ประกอบของธาตุที่เป็นสารอาหารอยู่หนึ่งหรือสองธาตุ และมีปริมาณธาตุที่เป็นอาหารของพืชในสัดส่วนที่คงที่
2.2 ปุ๋ยผสม เป็นการนาปุ๋ยเดี่ยวแต่ละชนิดมารวมกัน เพื่อให้มีสัดส่วนของธาตุอาหารหลัก ตามต้องการ
ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ นอกจากจะมีธาตุอาหารหลักแล้ว ยังมีธาตุอาหารของพืชที่มี
ความสาคัญในลาดับรองด้วย เช่น ธาตุCa S Mg Fe Zn Mn และ Cu ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ที่สาคัญที่มีการผลิตในปัจจุบันได้แก่ ปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยโพแทส และปุ๋ยผสม
สรุป
ธาตุและสารประกอบที่ใช้ในอุตสาหกรรม มีหลายอย่างเช่น เชื้อเพลิง และอุตสาหกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น แร่ ปูนซิเมนต์ เกลือ ปุ๋ย ฯลฯ ซึ่งล้วนแต่ใช้กระบวนการทางเคมีในการผลิตและพัฒนา แต่ทุกขั้นตอนของการผลิตจะมีของเสียจากการผลิต ซึ่งในประเทศไทยยังไม่สามารถเปลี่ยนรูปให้เป็นสารที่เกิดประโยชน์ หรือทาอุตสาหกรรมให้ครบวงจร เราจึงมักจะพบว่าโรงงานอุตสาหกรรมจะปล่อยของเสียออกสู่ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นักเคมียุคใหม่จึงควรช่วยกันแก้ปัญหาดังกล่าว